1. ก. คุณธรรม อ่านว่า คุน – ทำ
ข. เทพยดา อ่านว่า เทบ – ยะ -ดา
ค. รามเกียรติ์ อ่านว่า ราม – มะ -เกียน
ง. พระราชนิพนธ์ อ่านว่า พระ – ราด –นิ - พน
๒. ก. เทวดา อ่านว่า เทว – วะ -ดา
ข. มนุษย์ อ่านว่า มะ -นุด
ค. คุณภาพ อ่านว่า คุณ - พาบ
ง. จระเข้ อ่านว่า จระ -เข้
๓. ก. อุตสาหกรรม อ่านว่า อุด –สา -กำ
ข. จักจั่น อ่านว่า จัก - จั่น
ค. กลวิธี อ่านว่า กน –วิ -ที
ง. อุปสรรค อ่านว่า อุบ – ปะ – สัก
ข้อ ๔ – ๕ ข้อใดมีความหมายต่างจากพวก
๔. ก. เทพี
ข. เทพ
ค. เทวา
ง. เทพไท
ข. ปรปักษ์
ค. อรหันต์
ง. บริจาค
๑๐. “คุณพ่อซื้อบ้านใหม่” ขอใดเป็นกริยา
By: Rinlaporn Airsan
๕. ก. โสมนัส
ข. ปรีดา
ค. ยินดี
ง. โศกเศร้า
๖. ข้อใดเขียนผิด
ก. ขะมักขะเม้น
ข. ขะยุกขะยิก
ค. ยุมุกขะมอม
ง. ขะมอมขะแมม
๗. คำในข้อใดออกเสียง อะ กึ่งเสียง
ก. ธุระ
ข. กระวัติ
ค. กรุณา
ง. สระน้ำ
ข้อ ๘ – ๙ ข้อใดไม่ออกเสียง ออ
๘. ก. กรณี
ข. ปรกติ
ค. อรชร
ง. อรทัย
๙. ก. ปกติ
ค. อรหันต์
ง. บริจาค
๑๐. “คุณพ่อซื้อบ้านใหม่” ขอใดเป็นกริยา
ก. ซื้อ
ข. บ้าน
ค. ใหม่
ง. คุณพ่อ
๑๑. จากข้อ ๑๐ ข้อใดเป็นส่วนขยาย
ก. พ่อ
ข. บ้าน
ค. ซื้อ
ง. ใหม่
๑๒. “ลูกหมาน่ารักของเธอวิ่งไปแล้ว” คขีดเส้นใต้ขยายส่วนใดของประโยค
ก. ประธาน
ข. กรรม
ค. กริยา
ง. ส่วนขยาย
๑๓. จากข้อ ๑๒ ข้อใดเป็นส่วนขยายกริยา
ก. ลูกหมา
ข. วิ่ง
ค. ของเธอ
ง. ไปแล้ว
๑๔. ข้อใดมีส่วนขยายประธาน และกริยา
ก. นกเขาขันเพราะมาก
ข. มะม่วงเขียวเสวยผลนี้อร่อย
ค. คุณพ่อกำลังรับประทานอาหาร
ง. สุนัขสีดำถูกรถชนตายเมื่อเช้านี้
ให้นักเรียนอ่านประโยคที่กำหนดให้แล้วตอบคำถามข้อ ๑๕ – ๑๘
“พรุ่งนี้เราจะไปน้ำตกสาลิกา”
๑๕. ข้อใดเป็นกริยา
ก. น้ำตก
ข. จะไป
ค. สาลิกา
ง. พรุ่งนี้
๑๖. ข้อใดเป็นคำขยายกริยา
ก. น้ำตก
ข. สาลิกา
ค. พรุ่งนี้
ง. จะไป
๑๗. “น้ำตก” ทำหน้าที่ใดของประโยค
ก. ประธาน
ข. กรรม
ค. กริยา
ง. ส่วนขยาย
๑๘. ข้อใดขยายกรรม
ก. ไป
ข. พรุ่งนี้
ค. น้ำตก
ง. สาลิกา
ให้นักเรียนนำอักษรหน้าคำลักษณนามเติมในข้อ ๑๙ – ๒๖
ก. กิ่ง ช. หลัง
ข. แผ่น ซ. บท
ค. ซี่ ฌ. แก่ง
ง. เม็ด ญ. หัว
จ. เรือน
๑๙. นาฬิกา ๑……………….
๒๐. ข้าวเกรียบ ๓…………………..
๒๑. พลอย ๒……………..
๒๒. งาช้าง ๑…………..
๒๓. ฟัน ๑๐ ………………….
๒๔. เผือก ๔………………
๒๕. บ้าน ๓………………
๒๖. กลอน ๑……………..
๒๗.ข้อใดจัดลำดับ “อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ “ ตามพจนานุกรมได้ถูกต้อง
ก. จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์
ข. อาทิตย์ อังคาร จันทร์ พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์
ค. จันทร์ พฤหัสบดี พุธ เสาร์ ศุกร์ อาทิตย์ อังคาร
ง. จันทร์ พฤหัสบดี พุธ ศุกร์ เสาร์ อังคาร อาทิตย์
๒๘. จะพบคำใดก่อนในพจนานุกรม
ก. แกน
ข. แก่น
ค. แก้น
ง. แก็น
๒๙. การเขียนรายงานมีความมุ่งหมายสำคัญคืออะไร
ก. เพื่อบันทึกข้อมูลไว้ช่วยความจำ
ข. เขียนเสนอผลงานที่ได้กระทำมาตลอดปี
ค. เขียนเสนอผลการศึกษาต่อผู้ฟัง ผู้อ่าน เพื่อเผยแพร่
ง. เขียนเพื่อบันทึกเหตุการณ์ประจำวันอย่างต่อเนื่อง
๓๐. จะพบคำใดก่อนในพจนานุกรม
ก. ปัง
ข. ปัก
ค. ปัด
ง. ปับ
๓๑.ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการเขียนรายงาน
ก. รายงานจากการอ่านหนังสือ
ข. รายงานจากการจินตนาการ
ค. รายงานจากการศึกษาค้นคว้า
ง. รายงานจากการฟังวิทยุโทรทัศน์
๓๒.คำถามใด ไม่จำเป็นในการจับใจความสำคัญของเรื่อง
ก. ใคร
ข. ทำอะไร
ค. เท่าใด
ง. ที่ไหน
๓๓.หลังจากอ่านจับใจความสำคัญแล้วควรทำอย่างไรต่อไป
ก. เขียนข้อความตามต้องการ
ข. รีบเขียนเรื่องให้เสร็จ
ค. คัดลอกข้อความสำคัญของเรื่อง
ง. เขียนสรุปใจความสำคัญด้วยสำนวนภาษาของตนเอง
๓๔.ข้อใด เป็นประโยชน์ที่ได้รับจากการเขียนแผนภาพโครงเรื่อง
ก. ทำให้เรื่องมีรายละเอียดมากขึ้น
ข. จับใจความสำคัญของเรื่องได้
ค. สามารถแสดงความคิดเห็นได้
ง. ทำให้เนื้อเรื่องมีความสมบูรณ์
๓๕.ข้อใด ไม่ใช่วัตถุประสงค์ในการแต่งเรื่อง “ราชาธิราช
ก. เป็นหนังสือที่เป็นสมบัติของพระนคร
ข. ให้เป็นหนังสือที่เป็นคติสอนใจประชาชน
ค. เป็นหนังสือบำรุงสติปัญญาของประชาชน
ง. เป็นหนังสือแสดงเกียรติยศและความสามารถของผู้แต่ง
๓๖. เรื่อง “ราชาธิราช” ได้โครงเรื่องมาจากวรรณคดีของชาติใด
ก. พม่า
ข. มอญ
ค. เขมร
ง. อินเดีย
๓๗. “พงศาวดาร” หมายความว่าอย่างไร
ก. เรื่องราวของบรรพบุรุษของประเทศ
ข. เรื่องราวของผู้สบเชื้อสายเหล่ากอสกุลวงศ์
ค. เรื่องราวของพระมหากษัตริย์ ผู้เป็นประมุขของประเทศ
ง. เรื่องราวความเป็นไปของประชาชนและประเทศชาติ
๓๘. “คติ” ตรงกับข้อใด
ก. วิธีการ
ข. นิทาน
ค. เรื่องราว
ง. แบบอย่าง
๓๙. เพราะเหตุใดเรื่องราชาธิราชจึงได้รับยกย่องจากวรรณคดีสโมสร
ก. เป็นวรรณคดีร้อยแก้วที่ใช้ภาษาไทยแท้
ข. เป็นวรรณคดีร้อยแก้วที่มีสำนวนโวหารไพเราะ เข้าใจง่าย
ค. เป็นวรรณคดีร้อยแก้วที่มีสำนวนโวหารไพเราะให้คติและข้อคิดสอนใจ
ง. เป็นวรรณคดีร้อยแก้วที่มีสำนวนโวหารไพเราะให้คติและอคิดสอนใจเนื้อเรื่องสนุกสนาน
๔๐. “ประจิมทิศ” คือทิศอะไร
ก. ใต้
ข. เหนือ
ค. ตะวันตก
ง. ตะวันออก
๔๑. ข้อใด ไม่ใช่ ชื่อตัวละครในเรื่องราชาธิราช ตอน กำเนิดมะกะโท ถึงมะกะโทเป็นขุนวัง
ก. มะกะโท
ข. นางอุ่นเรือน
ค. พระเจ้าฟ้ารั่ว
ง. สมเด็จพระร่วงเจ้า
๔๒. “เบี้ย” หมายถึงข้อใด
ก. เงิน
ก. เพชร
ค. ทองคำ
ง. ทองแดง
๔๓. “สลา” หมายถึงข้อใด
ก. ข้าว
ข. หญ้า
ค. หมาก
ง. น้ำลาย
๔๔. “ทดหญ้า” หมายถึงข้อใด
ก. วางหญ้า
ข. ตัดหญ้า
ค. ตากหญ้า
ง. ปลูกหญ้า
๔๕. “เขาทำงานอะไรถึงได้ร่ำรวยยังงี้” คำใดเป็นภาษาพูด
ก. เขา
ข. อะไร
ค. ยังงี้
ง. ร่ำรวย
๔๖. ข้อใดคือสันธานของประโยคเป็นเหตุเป็นผลกัน
ก. และ
ข. แต่
ค. ถึงแม้ว่า
ง. เพราะฉะนั้น
๔๗. การเขียนแผนภาพโครงเรื่องมีประโยชน์อย่างไร
ก. สรุปข้อคิดที่ได้จากเรื่อง
ข. ประหยัดเวลาในการเขียน
ค. เขียนเรื่องได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
ง. เป็นแนวทางในการเขียนเรื่อง
๔๘. ข้อใด ไม่ใช่ การเขียนโครงเรื่อง
ก. กำหนดหัวข้อเป็นแผนภาพโครงเรื่อง
ข. เขียนรายละเอียดคร่าว ๆ ของแต่ละหัวข้อ
ค. หาความรู้เกี่ยวกับหัวข้อจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ
ง. เขียนรายละเอียดของหัวข้อให้มากที่สุดในแผนภาพโครงเรื่อง
๔๙. ข้อใด ไม่ใช่ วิธีการเขียนย่อความ
ก. อ่านเรื่องคร่าว ๆ ก่อน
ข. อ่านบททวนอีกครั้งเพื่อแก้ไข
ค. นำข้อความเดิมมาตัดให้สั้นลง
ง. บันทึกใจความสำคัญด้วยสำนวนของตนเอง
๕๐. ข้อใดเป็นขั้นตอนการย่อความ
1. การจับใจความสำคัญ
2. เขียนต่อด้วยสำนวนตนเอง
3. การอ่านเรื่องที่ย่อให้เข้าใจ
4. เขียนคำขึ้นต้นตามรูปแบบ
ก. ๑ ๒ ๓ ๔ ข. ๒ ๑ ๓ ๔
ค. ๓ ๑ ๔ ๒ ง. ๓ ๑ ๒ ๔
๕๑. ข้อใดเป็นหลักการในการพูดแสดงความคิดเห็น
ก. พูดตรงไปตรงมา
ข. พูดอย่างมีเหตุผล
ค. พูดด้วยน้ำเสียงอ่อนหวาน
ง. พูดด้วยถ้อยคำสุภาพ นุ่มนวล
๕๒. ข้อใดเป็นหลักการในการเขียนแสดงความคิดเห็น
ก. ไม่มีอคติ
ข. เขียนรายละเอียดมาก ๆ
ค. เขียนด้วยความคิดสร้างสรรค์
ง. ใช้ภาษาสละสลวย ชวนอ่าน
๕๓. ข้อใดคือสรรพนามที่ใช้ในการย่อความ
ก. ฉัน ผม
ข. เธอ คุณ
ค. เขา มัน
ง. พวกฉัน คณะเรา
๕๔. ข้อใดมีคำสันธานเชื่อมประโยคที่มีเนื้อความเป็นเหตุผลกัน
ก. ฉันและพี่สาวชอบว่ายน้ำเหมือนกัน
ข. ถึงเธอจะชอบอ่านหนังสือแต่เธอก็ไม่มีเวลาอ่าน
ค. คุณน้าชอบไปเที่ยวป่าหรือชอบไปทะเล
ง. เพราะฝนตกหนักมากน้ำจึงท่วมหมู่บ้าน
๕๕. “…….เธอได้คะแนนตั้ง ๘๐ คะแนนเชียวนะ” ควรเติมคำข้อใดในที่
ว่างของประโยคจึงจะได้ใจความสมบูรณ์
ว่างของประโยคจึงจะได้ใจความสมบูรณ์
ก. เอ๊ะ !
ข. โอโฮ !
ค. โธ่เอ๋ย !
ง. อุ๊ยตาย !
๕๖. “กว่าถั่วจะสุก งาก็ไหม้” คำที่ขีดเส้นใต้เป็นสันธานประเภทใด
ก. เชื่อมประโยคที่มีเนื้อความคล้อยตามกัน
ข. เชื่อมประโยคที่มีเนื้อความขัดแย้งกัน
ค. เชื่อมประโยคที่มีเนื้อความเป็นเหตุผลกัน
ง. เชื่อมประโยคที่มีเนื้อความเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
๕๗. ข้อใด ไม่ใช่ คำอุทาน
ก. เป็ดไก่ ! พวกนี้มาจากไหน
ก. เป็ดไก่ ! พวกนี้มาจากไหน
ข. ไชโย ! สอบเสร็จแล้ว
ค. โถ ! ทำไมผอมอย่างนี้
ง. เอ๊ะ ! ใครหยิบหนังสือไป
๕๘. ข้อใด ไม่มี คำอุทาน
ก. โอ๊ย ! ปวดหัวจัง
ข. ว้าย ! ประตูเปิดไม่ออก
ค. อยู่ดีดี ! ก็ตะโกนเสียงดัง
ง. อนิจจา ! กรรมเวรของเด็ก ๆ
๕๙. ข้อใดมีสันธานเลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง
ก. เมื่อไฟดับเขาก็รับเข้านอน
ข. ฉันไม่ชอบผลไม้รสเปรี้ยวแต่ก็ต้องกินบ้าง
ค. เพราะเขาตั้งใจอดออมเขาจึงมีฐานะดีขึ้น
ง. เธอต้องไปตลาดหรือไม่ก็ต้องซักผ้า
๖๐. หลวงปู่แดง (ป่วย)มาหลายวัน คำในวงเล็บควรใช้คำสุภาพใด
ก. ประชวร
ข. ไม่สบาย
ค. อาพาธ
ง. มีไข้
By: Rinlaporn Airsan