ก. กะทิ
ข. มะพร้าวขูด
ข. มะพร้าวขูด
ค. น้ำตาล
ง. สีที่ทำจากใบเตย
ง. สีที่ทำจากใบเตย
๒. สีน้ำเงินที่ใช้ทำขนม ได้จากอะไร
ก. ดอกฟักทอง
ข. ใบเตย
ข. ใบเตย
ค. ดอกมะลิ
ง. ดอกอัญชัน
ง. ดอกอัญชัน
๓. สีดำที่ใช้ทำขนมเปียกปูนได้จากอะไร
ก. ดอกอัญชัน
ข. ใบเตย
ข. ใบเตย
ค. เปลือกมะพร้าวเผา
ง. สีสังเคราะห์
๔. คำว่า “ บรรพบุรุษ ”
เริ่มนับเครือญาติ ตั้งแต่ชั้นใดขึ้นไป
ก. พ่อ แม่
ข.
พี่น้อง
ค. ปู่ทวด
ย่าทวด
ง. ปู่ย่า
ตายาย
๕. สิ่งใดที่นิยมนำมาใช้ห่อขนมไทย
ก. พลาสติก
ข. กล่องโฟม
ข. กล่องโฟม
ค. ใบตอง
ง. กระดาษ
ง. กระดาษ
๖. ข้อใด เป็นชื่อขนมไทย
ก. ทองก้อน
ข. ทองม้วน
ข. ทองม้วน
ค. ทองเค
ง. ทองคำ
ง. ทองคำ
๗. ขนมใดที่นิยมใช้ในงานฉลองยศ
ก. ขนมชั้น
ข. ทองหยิบ ทองหยอด
ค. ขนมเปียกปูน
ง. ขนมฝอยทอง
๘. คำว่า “ จาระไน” มีความหมายว่าอย่างไร
ก.
พูดมาก
ข.
พูดน้อย
ค.
พูดอธิบาย
ง.
พูดอธิบายอย่างละเอียด
๙. “ภูมิปัญญา” อ่านอย่างไรถูกต้อง
ก.
พู – มิ – ปัน - ยา
ข.
พูม – มิ – ปัน – ยา
ค.
พูม – ปัน – ยา
ง.
พูม – มิ – ปัน – ยะ – ยา
๑๐. ขนมไทยเป็นอีกหนึ่งอย่างที่แสดงออกถึง..............................ไทย
ก.
บรรพบุรุษ
ข.
ภูมิปัญญา
ค.
วัฒนธรรม
ง.
ฉลองยศ
๑๑. ขนมชั้นมักทำในงาน..........................
ก. ขึ้นบ้านใหม่
ข. บวชนาค
ค. แต่งงาน
ง. ฉลองยศ
๑๒. ในการบรรยายแต่ละครั้งผู้รับสาร หมายถึงบุคคลใด
ก. ผู้พูด
ข. ผู้ฟัง
ค. ผู้ถูกกล่าวถึง
ง. ผู้แสดงความคิดเห็น
๑๓. ข้อใดเป็นประโยคบอกเล่า
ก. ฉันมากับพระ
ข. เธอจะมิอาจขัดข้อง
ค. เธอไม่ต้องการกระนั้นหรือ
ง. เขาหารู้ไม่ว่าเธอรักเขามาก
๑๔. ข้อใดหมายถึง
การทำอาหารให้สุกด้วยไอน้ำ
ก. ปิ้ง
ข. ย่าง
ค. จี่
ง. นึ่ง
๑๕. ข้อใดเป็นตัวโยงที่ดีสุดในแผนภาพความคิดหัวข้อ วิธีปรุงอาหาร
ก. ต้ม
เดือด สุก
ข. ปิ้ง
ย่าง จี่ ต้ม
ค. ผัด
เสริฟ ต้ม จัด
ง. ปลา
มัน เกล็ด ทอด
๑๖. ประโยคใดเป็นประโยคปฏิเสธ
ก. เขาหารู้ไม่ว่านั่นคือเขาเอง
ข. เขารู้หรือไม่ว่านั่นคือลูกเขาเอง
ค. เขาสงสัยว่าใช่ลูกเขาเองหรือไม่
ง. เขาต้องรู้ให้ได้ว่าใช่ลูกหรือไม่
๑๗. คุณสมบัติพิเศษของขนมไทยที่แตกต่างจากขนมชาติอื่นคืออะไร
ก.
มีการประดิดประดอยสวยงาม
ข.
ใช้สีสันฉูดฉาดสวยงาม
ค.
รูปร่างแปลกพิสดาร
ง.
มีราคาถูกกว่า
๑๘. ในบทเรียนนี้สิ่งใดแสดงถึงเอกลักษณ์ของความเป็นไทย
ก.
การพูดล้อเลียนของเด็กๆ
ข.
การละเล่นพื้นเมือง
ค.
การทำขนม
ง.
การอ่านร้อยกรอง
๑๙. สิ่งใดไม่ควรกระทำในขณะอ่านในใจ
ก. ชี้ตามตัวอักษรในขณะอ่าน
ข. กวาดสายตาอย่างรวดเร็ว
ค. ใช้สมาธิเพ่งไปที่ข้อความที่อ่าน
ง. ไม่ทำปากขมุบขมิบ
๒๐. การอ่านจับใจความที่ดีควรอ่านเพื่อหาคำตอบในคำถามแบบใด
ก. ตอนจบของเรื่องเป็นอย่างไร1
ข. ตอนเริ่มต้นเรื่องกล่าวถึงสิ่งใด
ค. การดำเนินเรื่องมีลักษณะเป็นเช่นไร
ง. ใคร
ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร
๒๑. คำว่า “ เศษสตางค์”
ประกอบด้วยเงินประเภทใดบ้าง
ก. เงินเหรียญบาท
ข. เงินเหรียญห้าบาท
ค. เงินเหรียญสิบบาท
ง. เงินเหรียญสลึงและห้าสิบ ส.ต.
๒๒.
สิ่งใดที่ถือว่าเป็นของฟุ่มเฟือยสำหรับคนเรา
ก. ไฟฟ้า
ข. น้ำดื่มน้ำใช้
ค. เครื่องปรับอากาศ
ง. บ้านและที่อยู่อาศัย
๒๓. เงินแป
หมายความว่าอย่างไร
ก. เงินย่อยของเงินเหรียญ
ข. เงินที่ใช้ในสมัยกรุงสุโขทัย
ค. เงินที่ใช้ในสมัยกรุงศรีอยุธยา
ง. เงินที่สามารถนำไปชำระหนี้ได้
๒๔. เงินพดด้วง มีลักษณะอย่างไร
ก. เป็นใบธนบัตร
ข. เป็นเหรียญกลม
ค. เป็นรูปขดกลม
ง. เป็นเหรียญเก้าเหลี่ยม
๒๕. ชื่อเงินที่เป็นกระดาษในสมัยรัชกาลที่
๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ คืออะไร
ก. เงินพดด้วง
ข. เงินแป
ค. เงินธนบัตร
ง. เงินหมาย
๒๖. สำนวน “ เอาหูไปนาเอาตาไปไร่” หมายความว่าอย่างไร
ก. ทำเป็นไม่รู้ไม่เห็นไม่สนใจ
ข. ท่าทางกระวนกระวาย
ค. ทำจิตใจให้สงบเยือกเย็น
ง. ดูแลเอาใจใส่ไร่นาอย่างดียิ่ง
๒๗. คำว่า “ เห่อ”
หมายความว่าอย่างไร
ก. แสดงอาการตื่นเต้นดีใจจนออกนอกหน้า
ข. รีบร้อนจนออกนอกหน้า
ค. อยากได้จนออกนอกหน้า
ง. รักจนแสดงออกเกินไป
๒๘. อะไรเอ่ย
ต้นเท่าครก ใบปรกดิน
ก.
ตะไคร้
ข. ต้นกล้วย
ค.
ต้นข่า
ง. ต้นข้าว
๒๙. คำว่า “ เศษสตางค์”
ประกอบด้วยเงินประเภทใดบ้าง
ก. เงินเหรียญบาท
ข. เงินเหรียญห้าบาท
ค. เงินเหรียญสิบบาท
ง. เงินเหรียญสลึงและห้าสิบ ส.ต.
๓๐.
สิ่งใดที่ถือว่าเป็นของฟุ่มเฟือยสำหรับคนเรา
ก. ไฟฟ้า
ข.
น้ำดื่มน้ำใช้
ค. เครื่องปรับอากาศ
ง. บ้านและที่อยู่อาศัย
๓๑. เงินแป
หมายความว่าอย่างไร
ก. เงินย่อยของเงินเหรียญ
ข. เงินที่ใช้ในสมัยกรุงสุโขทัย
ค. เงินที่ใช้ในสมัยกรุงศรีอยุธยา
ง. เงินที่สามารถนำไปชำระหนี้ได้
๓๒. เงินพดด้วง มีลักษณะอย่างไร
ก. เป็นใบธนบัตร
ข. เป็นเหรียญกลม
ค. เป็นรูปขดกลม
ง. เป็นเหรียญเก้าเหลี่ยม
๓๓. ชื่อเงินที่เป็นกระดาษในสมัยรัชกาลที่
๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ คืออะไร
ก. เงินพดด้วง
ข. เงินแป
ค. เงินธนบัตร
ง. เงินหมาย
๓๔. สำนวน “ เอาหูไปนาเอาตาไปไร่” มายความว่าอย่างไร
ก. ทำเป็นไม่รู้ไม่เห็นไม่สนใจ
ข. ท่าทางกระวนกระวาย
ค. ทำจิตใจให้สงบเยือกเย็น
ง. ดูแลเอาใจใส่ไร่นาอย่างดียิ่ง
๓๕. คำว่า “ เห่อ” หมายความว่าอย่างไร
ก. แสดงอาการตื่นเต้นดีใจจนออกนอกหน้า
ข. รีบร้อนจนออกนอกหน้า
ค. อยากได้จนออกนอกหน้า
ง. รักจนแสดงออกเกินไป
๓๖. อะไรเอ่ย
ต้นเท่าครก ใบปรกดิน
ก.
ตะไคร้
ข. ต้นกล้วย
ค.
ต้นข่า
ง. ต้นข้าว
๓๗. อะไรเอ่ย ตัดหลังตัดหน้า เหลือกลางวาเดียว
ก. ถนน
ข. แม่น้ำ
ค. กวาง
ง. บุหรี่
๓๘. สำนวน “ จับปลาสองมือ” หมายความว่าอย่าไร
ก.
คนที่ทำอะไรไม่คิดก่อนทำ
ข.
คนที่คิดอะไรแล้วไม่ทำ
ค.
คนที่มีจิตใจโลเลไม่แน่นอน
ง.
คนที่มีจิตใจอ่อนแอ
๓๙. สำนวน “ กระเชอก้นรั่ว” หมายความว่าอย่างไร
ก. ไม่มีความระมัดระวัง
ข. ใช้จ่ายสุรุ่ยสุร่าย
ค. ใจกว้างชอบช่วยเหลือคน
ง. ใช้สิ่งของที่เก่าผุพังแล้ว
๔๐. แม้จะไม่พอใจแต่ยังแสดงสีหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส ตรงกับสำนวนใด
ก. นกน้อยทำรังแต่พอตัว
ข. เอาหูไปนา
เอาตาไปไร่
ค. น้ำขุ่นไว้ใน น้ำใสไว้นอก
ง. รู้ไว้ใช่ว่า
ใส่บ่าแบกหาม
๔๑. ข้อใดเป็นประโยคที่สมบูรณ์
ก. ฉันมากับพระ
ข. ขัดข้องประการใด
ค. มิอาจปฏิเสธ
ง. สุดปลายฟ้า
๔๒. ข้อใดเป็นวลี
ก. นกน้อยคอยคู่ยามเย็น
ข. เรือลำน้อยลอยล่องอยู่คุ้งน้ำ
ค. ตะวันโค้งสุดขอบฟ้า
ง.
ฟากฟ้ายามเย็น
๔๓. ประโยค “ ลูกไม้หล่นไม่ไกลต้น ” ส่วนใดคือภาคแสดง
ก. ลูกไม้
ข. ไกลต้น
ค. หล่น
ง. หล่นไม่ไกลต้น
๔๔. ข้อใดเป็นคำพังเพย
ก. เงยหน้าอ้าปาก
ข. ทำดีได้ดี
ทำชั่วได้ชั่ว
ค. เก็บหอมรอมริบ
ง. น้ำขุ่นไว้ใน
น้ำใสไว้นอก
๔๕. รู้ไว้ใช่ว่า
...................................... ข้อความใดนำมาเติมเพื่อเป็นสำนวน
ก. ใส่บ่าแบกหาม
ข.
กะลาหัวเจาะ
ค.
จะกล้าถากถาง
ง. ไม่กล้าแบกหาม
๔๖. ประเทศไทยเราเลิกใช้เงินหมายเมื่อใด
ก. รัชกาลที่ ๕
ข. รัชกาลที่ ๖
ค. รัชกาลที่ ๗
ง. รัชกาลที่ ๘
๔๗. ของขวัญที่ดีที่สุดที่ลูกมอบให้พ่อแม่ คือสิ่งใด
ก. เก็บเงินซื้อสิ่งของที่พ่อแม่อยากได้
ข. สอบได้ที่หนึ่งทุกครั้ง
ค. เป็นคนดี
กตัญญูรู้คุณ
ง. ได้เป็นเจ้าคนนายคน
๔๘. มีสลึงพึงบรรจบให้ครบบาท อย่าให้ขาดสิ่งของต้องประสงค์คำกลอน
๒ วรรคมาจากที่ใด
ก. สุภาษิตสอนน้อง
ข. สุภาษิตสอนหญิง
ก.
นิทานเรื่องเวตาล
ง.
กลอนบทละครเรื่อง
พระอภัยมณี
๔๙. ผักสีเขียวส่วนมากให้คุณค่าใดแก่ บริโภค
ก. ให้ร่างกายอบอุ่น
ข. ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต
ค. ช่วยบำรุงผิวพรรณ กระดูก ฟัน
ง. ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
๕๐.
ขบวนท่องเที่ยวในบทเรียนนี้ได้ไปท่องเที่ยวที่ใด
ก. สวนป่าพฤกษชาติ
ข. วนอุทยาน สมุนไพร
ค. สวนเกษตรกรรม
ง. สวนสมุนไพร
๕๑. ผลไม้ใดที่มีรสเปรี้ยวมากที่สุด
ก. มะนาว
ข. มะงั่ว
ค. มะเฟือง
ง. ส้มโอ
๕๒. สมุนไพรชนิดใดรักษาโรคท้องเสีย
ก. ว่านหางจระเข้
ข. กระวาน
ค. กานพลู
ง. ฟ้าทะลายโจร
๕๓.
ใบโหระพา มีสรรพคุณในการรักษาโรคใดบ้าง
ก. จุกเสียด
แน่นท้อง
ข. ปวดฟัน
ค. คออักเสบ
ง. ขับปัสสาวะ
บำรุงไต
๕๔. หญ้าหนวดแมว
มีสรรพคุณในการรักษาโรคใด
ก.
จุกเสียด แน่นท้อง
ข. ปวดฟัน
ค. คออักเสบ
ง. ขับปัสสาวะ
บำรุงไต
๕๕. โพ – ชะ – นา – กาน เขียนอย่างไร
ก. โพชนาการ
ข. โภชนาการ
ค. โภชะนาการ
ง. โภชชนาการ
๕๖. มัง – สะ – วิ – รัด เขียนอย่างไร
ก.
มังสะวิรัต
ข.
มังสะวิรัติ
ค.
มังสะวิรัตน์
ง.
มังสวิรัตน์
๕๗. ตีรวน
หมายความว่าอย่างไร
ก.
แสดงอาการหรือพูดแบบไม่เห็นด้วย
ข. แสดงอาการพูดแบบเห็นด้วย
ค.
แสดงอาการต่อต้าน
ง.
พูดก้าวร้าว
๕๘. สมุนไพรชนิดใดใช้เป็นยากัดเสมหะ
ก. กระเทียม
ข. กระชาย
ค. กระเจี๊ยบ
ง. กระวาน
๕๙. พืชชนิดใดใช้เป็นยาถ่ายพยาธิตัวตืด
ก.
มะงั่ว
ข. กระวาน
ค.
กระชาย
ง.
มะเกลือ
๖๐. สมุนไพรชนิดใดเป็นทั้งเครื่องเทศและยารักษาโรค
ก. มะละกอ
ข. กระชาย
ค. มะงั่ว
ง. กระท้อน
๖๑. คำในข้อใดมีตัวสะกดในแม่กนทุกคำ
ก. ทองคำ
กานพลู
ข. สูตร
หมุนเวียน
ค. ภารโรง
กงเกวียน
ง. คนพาล
การเรียน
๖๒. ข้อใดมีคำที่สะกดด้วยแม่กกทุกคำ
ก. ยกเมฆ
ข. กกกอด
ค. ถกเถียง
ง.
ทุกข์ทน
๖๓. การใช้ไม้ยมกในข้อใดเป็นสำนวน
ก. งู
ๆ ปลา ๆ
ข. ออกไปแต่เช้าๆ
ค. บ้านนั้นมองดูเก่าๆ
ง. ไปๆ
มาๆ ก็เจอันจนได้
๖๔. ขบวนท่องเที่ยวในบทเรียนได้ไปท่องเที่ยวในสถานที่ใด
ก. เมืองสุโขทัย
ข. เมืองอุตรดิตถ์
ค. เมืองกำแพงเพชร
ง. เมืองพิษณุโลก
๖๕. เมืองสวรรคโลก
มีชื่อเสียงทางด้านใด
ก. การก่อสร้างพระพุทธรูป
ข. มีสถานที่ท่องเที่ยวสวยงาม
ค. การปั้นถ้วยชาม
ง. การค้าขายเรือสำเภา
๖๖. อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัยได้รับการประกาศยกย่องให้เป็นมรดกโลกด้านใด
ก. ด้านธรรมชาติ
ข. ด้านสิ่งก่อสร้าง
ค. ด้านสถานที่สวยงาม
ง. ด้านวัฒนธรรม
๖๗. เมืองเชลียงในอดีต ปัจจุบันคือบริเวณจังหวัดใด
ก. สุโขทัย
ข. ตาก
ค. พิษณุโลก
ง. นครสวรรค์
๖๘.
ข้อใดที่ต้องอ่านแบบอักษรนำ
ก. ถนน
ข. เถกิง
ค. เมล็ด
ง. คลาดคลา
๖๙. ข้อใดเป็นคำควบไม่แท้
ก. ปราดเปรื่อง
ข. รุ่งเรือง
ค. ทรุดโทรม
ง. ซาบซ่าน
๗๐. ข้อใดเป็นคำควบกล้ำแท้ทั้งหมด
ก. ทรุดโทรม
จริงแท้
ข. ผลีผลาม
แคล้วคลาด
ค. กราบกราน
ขวนขวาย
ง. อินทรีย์
คว้าขวาน
๗๑. ข้อใด อ่านออกเสียงร่วมกันเป็นพยางค์เดียว
ก. ฉลาด
ข.
อย่าง
ค. ขนาด
ง. สมอง
๗๒. ข้อใด อ่านออกเสียงเป็น ๒ พยางค์
ก. อยาก
ข. อย่าง
ค. สวาย
ง. หนาว
๗๓. อักษรหมู่ใดมีพื้นเสียงเป็นเสียงวรรณยุกต์จัตวา
ก.
อักษรกลาง
ข.
อักษรสูง
ค.
อักษรต่ำ
ง.
อักษรเดี่ยว
๗๔. ข้อใดเป็นคุณสมบัติของคำตาย
ก. คำที่ประสมด้วยสระเสียงสั้นมีตัวสะกด ในแม่ กด
ข. คำที่ประสมด้วยสระเสียงสั้นมีตัวสะกด ในแม่ กน
ค.
คำที่ประสมด้วยสระเสียงยาวมีตัวสะกด ในแม่ กด
ง. คำที่ประสมด้วยสระเสียงยาวมีตัวสะกด ในแม่ เกอว
๗๕. อักษรต่ำ คำตาย มีพื้นเสียงเป็นเสียงวรรณยุกต์ใด
ก. วรรณยุกต์เอก
ข. วรรณยุกต์โท
ค. วรรณยุกต์ตรี
ง. วรรณยุกต์จัตวา
๗๖. ข้อใดเขียนถูกต้อง
ก. รักษาความสะอาดด้วยนะคะ
ข. รักษาความสะอาดด้วยนะค่ะ
ค. รักษาความสะอาดด้วยนะค๊ะ
ง. รักษาความสะอาดด้วยน๊ะค๊ะ
๗๗. เครื่องหมาย
( !
) ใช้ในกรณีใด
ก.
หลังประโยคคำถาม
ข.
หลังประโยคปฏิเสธ
ค.
หลังประโยคบอกเล่า
ง.
หลังคำอุทาน
๗๘. เครื่องหมาย (ฯลฯ ) ใช้ในข้อใดถูกต้อง
ก. ในบ้านมีหมา
แมว เป็ด
ข. พระองค์ทรงโปรดเกล้า
ค. ช่วยด้วย
คนจมน้ำ
ง. จริงหรือที่ว่าเขาก็จะมา
๗๙. เครื่องหมาย ( ? )
ใช้กับประโยคใด
ก.
อุ๊ย แตกหมดเลย
ข.
เขาจะมาหรือเปล่า
ค.
ไม่อย่างแน่นอน เขาพูด
ง.
คุณไม่จำเป็นต้องทำอย่างนั้น
๘๐. เครื่องหมาย ( “............” ) เรียกว่า
ก. นขลิขิต
ข. สัญประกาศ
ค. อัญประกาศ
ง. บุพสัญญา
โดย : Rinlaporn