Rinlaporn&Omsin
แหล่งรวมข้อสอบ สรุปและเทคนิคคิดเลขให้รวดเร็วทันใจ ข้อสอบทุกระดับ ทุกสาขาวิชา
จำนวนการดูหน้าเว็บรวม
29 สิงหาคม 2555
@ วิจัยรูปแบบการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้นแบบน่าอยู่ดีเด่นโรงเรียนเทศบาล 4 วัดศรีบัวบาน
ผลงานวิจัยเรื่อง รูปแบบการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้นแบบน่าอยู่ดีเด่นโรงเรียนเทศบาล 4 วัดศรีบัวบาน
สู่ความเป็นเลิศผู้วิจัย นายช่อ สันธนพิพัฒน์ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล 4 วัดศรีบัวบาน เทศบาลเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี
บทคัดย่อ
..........................การวิจัยรูปแบบการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้นแบบน่าอยู่ดีเด่นโรงเรียนเทศบาล 4 วัดศรีบัวบานสู่ความเป็นเลิศ ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการพัฒนากลยุทธ์การบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้นแบบน่าอยู่ดีเด่นโรงเรียนเทศบาล 2) ทราบผลของการใช้รูปแบบการพัฒนากลยุทธ์การบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้นแบบน่าอยู่ดีเด่นโรงเรียนเทศบาล 4 วัดศรีบัวบานสู่ความเป็นเลิศ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูโรงเรียนเทศบาล 4 วัดศรีบัวบาน จำนวน 18 คน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต สถิติที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย การวิเคราะห์ความถี่ ร้อยละ และการวิเคราะห์ เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า
............................รูปแบบการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้นแบบน่าอยู่ดีเด่นโรงเรียนเทศบาล
4 วัดศรีบัวบานสู่ความเป็นเลิศ ประกอบด้วย 1) ด้าน การวางแผน โดยการแสดงถึงภาวะผู้นำของผู้บริหาร ด้วยการเป็นแกนหลักในการบริหารและดำเนินงานร่วมกับบุคลากร เป็นผู้ประสานงานให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กำกับดูแลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งสร้างความตระหนักและความรู้ความเข้าใจแก่บุคลากรในการปฏิบัติงาน 2) ด้าน การดำเนินงานตามแผน โดยการกำหนดผู้รับผิดชอบในการมอบหมายภารกิจที่สอดคล้องกับความรู้ความสามารถ ของผู้ปฏิบัติ การมอบหมายให้มีคณะกรรมการประสานงานเพื่อเป็นตัวกลางในการประสาน กำกับดูแลให้ภารกิจเชื่อมโยงกันอย่างสมบูรณ์ การส่งเสริมการทำงานเป็นทีมโดยบุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมาย ร่วมดำเนินการ ร่วมตรวจสอบ และปรับปรุงพัฒนางานให้เหมาะสม 3) ด้านการตรวจสอบและประเมินผล โดยการกำกับติดตามอย่างเป็นระบบ มีการนิเทศงานปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง 4) ด้าน การนำผลการประเมินมาปรับปรุงให้เหมาะสมโดยการให้บุคลากรในโรงเรียนมีส่วน ร่วมและปรึกษาหารือแก้ไข้ข้อบกพร่องในการปฏิบัติภารกิจ เพื่อนำผลการปฏิบัติมากำหนดเป็นยุทธศาสตร์การบริหารจัดการสถานศึกษาสู่ความ เป็นเลิศ 5) ผลสำเร็จของการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้นแบบน่าอยู่ดีเด่น พบว่า มีหน่วยงาน สถานศึกษาต่างๆมาศึกษาดูงานเป็นจำนวนมากและโรงเรียนได้รับรางวัล ชุมชนไว้วางใจให้ความร่วมมือในการบริหารจัดการโรงเรียนและบริจาคทรัพยากร เป็นจำนวนมาก
ที่มา: http://www.thaigoodview.com/node/60307
(ขออนุญาตเจ้าของผลงานวิจัยมา ณ ที่นี้ด้วยนะคะ เพื่อเป็นวิทยาทานแก่บุคคลที่ต้องการศึกษา ค้นคว้าขอบพระคุณมากค่ะ)
Rinlaporn&Omsin
สู่ความเป็นเลิศผู้วิจัย นายช่อ สันธนพิพัฒน์ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล 4 วัดศรีบัวบาน เทศบาลเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี
บทคัดย่อ
..........................การวิจัยรูปแบบการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้นแบบน่าอยู่ดีเด่นโรงเรียนเทศบาล 4 วัดศรีบัวบานสู่ความเป็นเลิศ ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการพัฒนากลยุทธ์การบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้นแบบน่าอยู่ดีเด่นโรงเรียนเทศบาล 2) ทราบผลของการใช้รูปแบบการพัฒนากลยุทธ์การบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้นแบบน่าอยู่ดีเด่นโรงเรียนเทศบาล 4 วัดศรีบัวบานสู่ความเป็นเลิศ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูโรงเรียนเทศบาล 4 วัดศรีบัวบาน จำนวน 18 คน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต สถิติที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย การวิเคราะห์ความถี่ ร้อยละ และการวิเคราะห์ เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า
............................รูปแบบการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้นแบบน่าอยู่ดีเด่นโรงเรียนเทศบาล
4 วัดศรีบัวบานสู่ความเป็นเลิศ ประกอบด้วย 1) ด้าน การวางแผน โดยการแสดงถึงภาวะผู้นำของผู้บริหาร ด้วยการเป็นแกนหลักในการบริหารและดำเนินงานร่วมกับบุคลากร เป็นผู้ประสานงานให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กำกับดูแลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งสร้างความตระหนักและความรู้ความเข้าใจแก่บุคลากรในการปฏิบัติงาน 2) ด้าน การดำเนินงานตามแผน โดยการกำหนดผู้รับผิดชอบในการมอบหมายภารกิจที่สอดคล้องกับความรู้ความสามารถ ของผู้ปฏิบัติ การมอบหมายให้มีคณะกรรมการประสานงานเพื่อเป็นตัวกลางในการประสาน กำกับดูแลให้ภารกิจเชื่อมโยงกันอย่างสมบูรณ์ การส่งเสริมการทำงานเป็นทีมโดยบุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมาย ร่วมดำเนินการ ร่วมตรวจสอบ และปรับปรุงพัฒนางานให้เหมาะสม 3) ด้านการตรวจสอบและประเมินผล โดยการกำกับติดตามอย่างเป็นระบบ มีการนิเทศงานปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง 4) ด้าน การนำผลการประเมินมาปรับปรุงให้เหมาะสมโดยการให้บุคลากรในโรงเรียนมีส่วน ร่วมและปรึกษาหารือแก้ไข้ข้อบกพร่องในการปฏิบัติภารกิจ เพื่อนำผลการปฏิบัติมากำหนดเป็นยุทธศาสตร์การบริหารจัดการสถานศึกษาสู่ความ เป็นเลิศ 5) ผลสำเร็จของการบริหารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้นแบบน่าอยู่ดีเด่น พบว่า มีหน่วยงาน สถานศึกษาต่างๆมาศึกษาดูงานเป็นจำนวนมากและโรงเรียนได้รับรางวัล ชุมชนไว้วางใจให้ความร่วมมือในการบริหารจัดการโรงเรียนและบริจาคทรัพยากร เป็นจำนวนมาก
ที่มา: http://www.thaigoodview.com/node/60307
(ขออนุญาตเจ้าของผลงานวิจัยมา ณ ที่นี้ด้วยนะคะ เพื่อเป็นวิทยาทานแก่บุคคลที่ต้องการศึกษา ค้นคว้าขอบพระคุณมากค่ะ)
Rinlaporn&Omsin
2 กรกฎาคม 2555
@ สมการและการแก้สมการ
ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=MFQcvwbi_1Q&feature=related
Rinlaporn&Omsin
@ คิดเลขคูณ..แบบลัด
ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=zSFLkcutOo8&feature=related
Rinlaporn&Omsin
@ ตอนที่ 7 เทคนิคหารเลขเร็ว
ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=LM2_BoQ1yCM&feature=related
Rinlaporn&Omsin
@ การหาห.ร.ม.แบบยูคลิด.wmv
ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=eYoWSsT6SCM&feature=related
Rinlaporn&Omsin
@ การหารากที่สองโดยการตั้งหารยาว
ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=9oBkCNO0VtA&feature=related
Rinlaporn&Omsin
@ แนวสอบเข้า ม.1 การหา ครน.และ หรม.
ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=0SUC2sThR1g&feature=related
Rinlaporn&Omsin
@ การหา ห.ร.ม. 1 (HD)
ที่มา: http://www.youtube.com/watch?v=h26qeFKrtPo&feature=related
Rinlaporn&Omsin
การหาตัวคูณร่วมน้อยที่สุด (ค.ร.น.)
ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=XHQwqpdykYM&feature=related
Rinlaporn&Omsin
5 มีนาคม 2555
@ คำนำพระนามแสดงความเป็นเครือญาติ
>> พระวงศ์เธอ
คำนำพระนามพระองค์เจ้าหลานเธอที่พระมารดาเป็นพระองค์เจ้า และหม่อมเจ้าที่ได้รับการสถาปนาเป็นพระองค์เจ้าในวังหลวง วังหน้า และวังหลัง ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ใช้คำนำพระนามของพระองค์เจ้าตั้งที่เป็นพระราชนัดดาว่า "พระวรวงศ์เธอ" และ "พระเจ้าวรวงศ์เธอ"
>> พระเจ้าบวรวงศ์เธอ
คำนำพระนามพระราชโอรส พระราชธิดาในสมเด็จพระบวรราชเจ้า กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ในรัชกาลที่ ๑,๒,๓ และพระราชโอรส พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงบัญญัติให้ใช้ ครั้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเปลี่ยนคำนำพระนาม "พระเจ้าบวรวงศ์เธอ" เป็น "พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ"
>> พระบวรวงศ์เธอ
คำนำพระนามพระโอรส พระธิดาในกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ (วังหน้ารัชกาลที่ ๕) ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู๋หัว ทรงบัญญัติให้ใช้ ครั้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเปลี่ยนคำนำพระนาม "พระบวรวงศ์เธอ" เป็น "พระราชวรวงศ์เธอ"Rinlaporn&Omsin
@ คำนำพระนามแสดงความเป็นเครือญาติ >> พระประพันธวงศ์เธอ
>> พระประพันธวงศ์เธอ
คำนำพระนามพระโอรส พระธิดาชั้นพระองค์เจ้าในสมเด็จพระบรมราชมาจามหัยกาเธอ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงบัญญัติขึ้น แต่ต่อมาทรงเปลี่ยนคำนำพระนาม "พระประพันธวงศ์เธอ" เป็น "พระสัมพันธวงศ์เธอ" เมื่อครั้งทรงสถาปนาหม่อมเจ้าพรรณราย (พระธิดาในสมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์) เป็น "พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย"
Rinlaporn&Omsin
คำนำพระนามพระโอรส พระธิดาชั้นพระองค์เจ้าในสมเด็จพระบรมราชมาจามหัยกาเธอ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงบัญญัติขึ้น แต่ต่อมาทรงเปลี่ยนคำนำพระนาม "พระประพันธวงศ์เธอ" เป็น "พระสัมพันธวงศ์เธอ" เมื่อครั้งทรงสถาปนาหม่อมเจ้าพรรณราย (พระธิดาในสมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์) เป็น "พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย"
Rinlaporn&Omsin
@ คำนำพระนามแสดงความเป็นเครือญาติ >> พระสัมพันธวงศ์เธอ
>> พระสัมพันธวงศ์เธอ
คำนำพระนามพระโอรส พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ ในรัชกาลที่ ๑ (สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาเทพสุดาวดี และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์) คำนำพระนามพระโอรส พระธิดาในพระเจ้าน้องนางเธฮในรัชกาลที่ ๑ (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนรินทรเทวี) และคำนำพระนามพระโอรส พระธิดาในกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข (วังหลังรัชกาลที่ ๑) ซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ ๑) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ใช้คำนำพระนามว่า "สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ" หรือ "พระเจ้าหลานเธอ"ตามพระเกียรติยศ แต่ในรัชกาลที่ ๒ และ ๓ ไม่ปรากฏว่ามีการใช้คำนำพระนามพระราชวงศ์ชั้นนี้
ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔) ได้ทรงบัญญัติให้ใช้คำนำพระนามว่า "พระสัมพันธวงศ์เธอ" ซึ่งคำนำพระนามนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) ทรงบัญญัติให้ใช้เป็นคำนำพระนามพระโอรส พระธิดาในสมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ (พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๓) )
Rinlaporn&Omsin
คำนำพระนามพระโอรส พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ ในรัชกาลที่ ๑ (สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาเทพสุดาวดี และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์) คำนำพระนามพระโอรส พระธิดาในพระเจ้าน้องนางเธฮในรัชกาลที่ ๑ (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนรินทรเทวี) และคำนำพระนามพระโอรส พระธิดาในกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข (วังหลังรัชกาลที่ ๑) ซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ ๑) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ใช้คำนำพระนามว่า "สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ" หรือ "พระเจ้าหลานเธอ"ตามพระเกียรติยศ แต่ในรัชกาลที่ ๒ และ ๓ ไม่ปรากฏว่ามีการใช้คำนำพระนามพระราชวงศ์ชั้นนี้
ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔) ได้ทรงบัญญัติให้ใช้คำนำพระนามว่า "พระสัมพันธวงศ์เธอ" ซึ่งคำนำพระนามนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) ทรงบัญญัติให้ใช้เป็นคำนำพระนามพระโอรส พระธิดาในสมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ (พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๓) )
Rinlaporn&Omsin
@ ความหมายของคำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์ คือ คำเฉพาะใช้สำหรับพูดกับพระเจ้าแผ่นดิน พระบรมวงศานุวงศ์ เจ้านาย และรวมถึงคำสุภาพที่นำมาใช้ให้ถุกต้องเหมาะสมตามชั้นหรือฐานะบุคคล
ที่มาของคำราชาศัพท์
ประเทศไทยเป็นประเทศที่ปกครองโดยมีพระมหากษัตริย์มาตั้งแต่สมัยสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ โดยปวงชนชาวไทยได้สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณและพระเมตตากรุณา จึงได้คิดค้นหาถ้อยคำที่ไพเราะเพื่อใช้แก่พระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์
การใช้คำราชาศัพท์
การใช้คำราชาศัพท์เป็นคำที่สามัญชนทั่วไปใช้กับพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ และคำราชาศัพท์นั้นพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศ์จะไม่ทรงใช้สำหรับพระองค์เอง แต่ทรงใช้ถ้อยคำธรรมดา เช่น พระหัตถ์ของฉัน ใช้ว่า มือของฉัน เป็นต้น
ทั้งนี้ พระมหากษัตริย์ก็ทรงใช้ราชาศัพท์กับพระบรมวงศ์ ส่วนพระบรมวงศ์ก็ทรงใช้ราชาศัพท์กับพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ที่่มีพระอิสริยศักดิ์ต่างกันก็ใช้ราชาศัพท์ระหว่างกัน
บุคคลที่ใช้ราชาศัพท์
๑. พระเจ้าแผ่นดิน
๒. พระบรมวงศานุวงศ์
๓. พระภิกษุ สามเณร
๔. ขุนนาง ข้าราชการผู้ใหญ่
๕. สุภาพชนทั่วไป
Rinlaporn&Omsin
ที่มาของคำราชาศัพท์
ประเทศไทยเป็นประเทศที่ปกครองโดยมีพระมหากษัตริย์มาตั้งแต่สมัยสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ โดยปวงชนชาวไทยได้สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณและพระเมตตากรุณา จึงได้คิดค้นหาถ้อยคำที่ไพเราะเพื่อใช้แก่พระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์
การใช้คำราชาศัพท์
การใช้คำราชาศัพท์เป็นคำที่สามัญชนทั่วไปใช้กับพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ และคำราชาศัพท์นั้นพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศ์จะไม่ทรงใช้สำหรับพระองค์เอง แต่ทรงใช้ถ้อยคำธรรมดา เช่น พระหัตถ์ของฉัน ใช้ว่า มือของฉัน เป็นต้น
ทั้งนี้ พระมหากษัตริย์ก็ทรงใช้ราชาศัพท์กับพระบรมวงศ์ ส่วนพระบรมวงศ์ก็ทรงใช้ราชาศัพท์กับพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ที่่มีพระอิสริยศักดิ์ต่างกันก็ใช้ราชาศัพท์ระหว่างกัน
บุคคลที่ใช้ราชาศัพท์
๑. พระเจ้าแผ่นดิน
๒. พระบรมวงศานุวงศ์
๓. พระภิกษุ สามเณร
๔. ขุนนาง ข้าราชการผู้ใหญ่
๕. สุภาพชนทั่วไป
Rinlaporn&Omsin
10 กุมภาพันธ์ 2555
* คำสรรพนาม
..........คำสรรพนาม
คือ คำที่ใช้แทนคำนามที่ผู้พูดหรือผู้เขียนได้กล่าวแล้วหรือเป็นที่เข้าใจระหว่างผู้ฟังและผู้พูด เพื่อไม่ต้องกล่าวคำนามซ้ำ
มีวิธีใช้ดังนี้
๑. ใช้แทนคำชื่อของคนที่สนทนากัน คือ
แทนชื่อผู้พูด เช่น ฉัน ดิฉัน ผม กระผม ข้าพเจ้า
แทนชื่อผู้ที่พูดด้วย เช่น คุณ เธอ ท่าน ใต้เท้า
แทนชื่อผู้ที่เราพูดถึง เช่น เขา เธอ ท่าน มัน
๒. ใช้แทนคำชื่อที่กล่าวมาแล้วเพื่อชี้ระยะ มีคำว่า นี่ นั่น โน่น ฯลฯ
๓. ใช้แทนคำชื่อที่กล่าวมาแล้วเพื่อแบ่งหรือรวมประโยค มีคำว่า
บ้าง กัน ต่าง ฯลฯ เช่น
เราต้องช่วยกันอนุรักษ์ธรรมชาติ
ทุกคนต่างก็ตั้งใจอ่านหนังสืออย่างเต็มที่
ชาวนาแถบนี้บ้างก็ทำไร่ข้าวโพดบ้างก็ปลูกขิง
๔. ใช้แทนคำชื่อเพื่อเชื่อมประโยคที่มีคำว่า ที่ ซึ้ง อัน ฯลฯ เช่น
ฉันชอบอ่านหนังสือที่อ่านแล้วให้ความรู้
คนเราต้องพึ่งพาอาศัยซึ้งกันและกัน
การกระทำอันขาดสติย่อมย่อมเกิดผลเสียแก่ตนเองและผู้อื่น
๕. ใช้แทนคำชื่อที่ไม่เฉพาะเจาะจง มีคำว่า ใคร อะไร ไหน ฯลฯ เช่น
อะไร ๆ ก็ทำไม่เป็น
พูดเสียงดังลั่นใคร ๆ ก็ได้ยิน
เธอจะเอาอย่างไหนกันแน่
----------------------------------
Rinlaporn&Omsin
* คำนาม
คำนาม คือ คำที่แสดงความหมายถึงคน สัตว์ สิ่งของ สภาพ อาการ
สถานที่ ลักษณะซึ่งรวมทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวต เช่น ดาวเรือง นกกระสา
เก้าอี้ คำนามบางคำไม่ได้บอกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ สภาพ อาการ สถานที่
แต่บอกลักษณะ และนามที่บอกลักษณะนี้ เราเรียกว่า ลักษณะนาม มักจะ
อยู่หลังคำบอกจำนวน เช่น ช้าง ๑ ตัว บ้าน ๓ หลัง ปากกา ๒ ด้าม
..........คำว่า ตัว เป็นลักษณะนามของ ไก่
..........คำว่า หลัง เป็นลักษณะนามของ บ้าน
..........คำว่า ด้าม เป็นลักษณะนามของ ปากกา
..........การใช้คำลักษณะนาม นอกจากสามารถใช้ตามหลังจำนวนแล้ว
ยังสามารถตามหลังคำนามก็ได้ เช่น เสื้อตัวสีเขียวสวยจริง ๆ มะนาว
ต้นนี้สูงมาก โรงเรียนหลังนี้ใหญ่
คำนามมีหลายชนิด ดังนี้
๑. คำนามทั่วไป เป็นคำที่ไม่ชี้เฉพาะว่าเป็นสิ่งไหน เช่น ดินสอ สมุด
ปากกา กระป๋อง ฯลฯ
๒. คำนามเฉพาะ เป็นคำที่ชี้เฉพาะลงไปว่าเป็นใครหรือสิ่งใด เช่น
นายสมชายวิ่งเก่ง
๓. คำนามบอกหมวดหมู่ เป็นคำที่บอกว่ามีหลาย ๆ สิ่ง หลาย ๆ อย่าง
รวมกัน เช่น ฝูงช้าง กองดิน ฯลฯ
๔. คำนามบอกอาการ เป็นคำที่บอกการกระทำหรือการแสดงมักมีคำว่า
ความ การ อยู่ข้างหน้า ตัวอย่างเช่น การนอนหลับ การเรียน ความดี
ความชั่ว ความกลัว ฯลฯ
๕. คำนามบอกลักษณะ เป็นคำตามหลังจำนวนบอกลักษณะของนามนั้นๆ
ดังตัวอย่างเช่น ปากกา ๓ ด้าม ไข่ ๓ ฟอง
๑. ทำหน้าที่เป็นประธาน เช่น นารีจับปลา
๒. ทำหน้าที่เป็นกรรม เช่น น้องดิวชอบเล่นฟุตบอล
๓. ทำหน้าที่เป้นกรรมตรงและกรรมรอง เช่น แม่เย็บเสื้อให้ฉัน
๔. ทำหน้าที่ขยายคำนามอื่น
๕. ทำหน้าที่ขยายกริยา บอกสถานที่ ทิศทาง หรือเวลา เช่น
เขาไปตลาด วิภาชอบทำงานตอนเย็น
แหล่งข้อมูลอ้างอิง:สรุปหลักภาษาไทย การใช้ภาษาไทย
Rinlaporn&Omsin
สถานที่ ลักษณะซึ่งรวมทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวต เช่น ดาวเรือง นกกระสา
เก้าอี้ คำนามบางคำไม่ได้บอกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ สภาพ อาการ สถานที่
แต่บอกลักษณะ และนามที่บอกลักษณะนี้ เราเรียกว่า ลักษณะนาม มักจะ
อยู่หลังคำบอกจำนวน เช่น ช้าง ๑ ตัว บ้าน ๓ หลัง ปากกา ๒ ด้าม
..........คำว่า ตัว เป็นลักษณะนามของ ไก่
..........คำว่า หลัง เป็นลักษณะนามของ บ้าน
..........คำว่า ด้าม เป็นลักษณะนามของ ปากกา
..........การใช้คำลักษณะนาม นอกจากสามารถใช้ตามหลังจำนวนแล้ว
ยังสามารถตามหลังคำนามก็ได้ เช่น เสื้อตัวสีเขียวสวยจริง ๆ มะนาว
ต้นนี้สูงมาก โรงเรียนหลังนี้ใหญ่
คำนามมีหลายชนิด ดังนี้
๑. คำนามทั่วไป เป็นคำที่ไม่ชี้เฉพาะว่าเป็นสิ่งไหน เช่น ดินสอ สมุด
ปากกา กระป๋อง ฯลฯ
๒. คำนามเฉพาะ เป็นคำที่ชี้เฉพาะลงไปว่าเป็นใครหรือสิ่งใด เช่น
นายสมชายวิ่งเก่ง
๓. คำนามบอกหมวดหมู่ เป็นคำที่บอกว่ามีหลาย ๆ สิ่ง หลาย ๆ อย่าง
รวมกัน เช่น ฝูงช้าง กองดิน ฯลฯ
๔. คำนามบอกอาการ เป็นคำที่บอกการกระทำหรือการแสดงมักมีคำว่า
ความ การ อยู่ข้างหน้า ตัวอย่างเช่น การนอนหลับ การเรียน ความดี
ความชั่ว ความกลัว ฯลฯ
๕. คำนามบอกลักษณะ เป็นคำตามหลังจำนวนบอกลักษณะของนามนั้นๆ
ดังตัวอย่างเช่น ปากกา ๓ ด้าม ไข่ ๓ ฟอง
หน้าที่ของคำนาม
มีดังนี้๑. ทำหน้าที่เป็นประธาน เช่น นารีจับปลา
๒. ทำหน้าที่เป็นกรรม เช่น น้องดิวชอบเล่นฟุตบอล
๓. ทำหน้าที่เป้นกรรมตรงและกรรมรอง เช่น แม่เย็บเสื้อให้ฉัน
๔. ทำหน้าที่ขยายคำนามอื่น
๕. ทำหน้าที่ขยายกริยา บอกสถานที่ ทิศทาง หรือเวลา เช่น
เขาไปตลาด วิภาชอบทำงานตอนเย็น
แหล่งข้อมูลอ้างอิง:สรุปหลักภาษาไทย การใช้ภาษาไทย
Rinlaporn&Omsin
* กระดาษกรองกาแฟ
.......กระดาษกรองกากกาแฟที่เพื่อนๆใช้อยู่บ่อยๆนั้น
คิดค้นขึ้นในปี พ.ศ. 2451 หรือ เมื่อเกือบ 100 ปี
มาแล้ว โดยนางเมลิตตา เบยซ์ เป็นแม่บ้านจาำเมือง
เดรสเดิน ประเทศเยอรมนี ซเธอนั้นมองหาวิธีต้ม
กาแฟของเธอ ที่ไม่รสขมเพราะต้มนานเกินไป
เธอจึงตัดสินใจต้มกาแฟแบบกรองดู โดยการเทน้ำร้อน
ใส่เมล็ดกาแฟบดและกรองเอากากออก เธอได้ทดลอง
เอาวัสดุต่างๆ หลายชนิดมากรอง จนเธอได้พบว่า กระดาษ
ซับที่ลูกชายใช้ที่โรงแรมนั้นได้ผลดีที่สุด เธอจึงตัด
กระดาษซับเป็นรูปวงกลม วางลงในถ้วยโลหะ แล้ว
กระดาษกรองกากกาแฟของเธอชิ้นแรก
........หลังจากนั้นไม่นาน เธอและสามี ก็ได้ตั้งบริษัทขึ้น
โดยใช้ชื่อของเธอเป็นชื่อของบริษัท.
--------------------
แหล่งข้อมูลอ้างอิง : ทำทุกอย่างได้ไม่ธรรมดา
Rinlaporn&Omsin
* ใบไม้
เพื่อนๆ เคยสังเกตบ้างหรือไม่ว่าใบของต้ นมี
สารพัดขนาดและรูปร่าง บ้างก็ใหญ่มาก บ้างก็เล็ก
มีทั้งใบกว้างและใบเล็ก ขอบใบเรียบ ๆ ก็มี
เป้นรอยหยักก็มี หรือบางทีก็เป็นฝอย ส่วนรูปร่าง
ก็มีทั้งกลม ยาว รูปไข่ รูปหัวใจ รูปดาว รูปใบพาย
รูปจาน รูปเข็ม หลากหลายสุดที่เราเคยพบเห็นกัน
....รู้ไหมว่าทำไมใบไม้จึงมีขนา ดและรูปร่างต่างกัน
มากมายอย่างนั้น
....เราเปรียบใบไม้เสมือนเป็นปา กของต้นไม้ คอย
รับอาหารหรือคาร์บอนไดออกไซด์จา กอากาศและ
รับแสงแดด จึงเป้นหน้าที่ของใบไม้ที่ต้องพ ยายาม
กินอาหารให้ได้มากท่สุดเท่าที่จ ะทำได้ เพื่อต้นไม้
นั้นจะได้เติบโตและรอดชีวิต ดังนั้น ถ้าพิจารณาดู
ให้ดีจะเห็นว่าใบไม้มีรูปร่างอย ่างใดนั้นย่อมขึ้นอยู่
กับความเป็นอยู่ของต้นไม้นั้น
.....ต้นไม้ชนิดใดที่มีที่ทางเต ิบโตได้อย่างสบาย
เช่น ยาสูบ ทานตะวัน ชมพู่ มะม่วง จะมีใบที่กว้างใหญ่
แผ่ออกรับแสงแดดในแนวนอนได้อย่า งเต็มที่ ส่วนหญ้า
ซึ่งต้องขึ้นเบียดกันจะมีใบแคบย าวตั้งตรง เพื่อที่แต่ละใบ
จะได้รับส่วนแบ่งแสงแดดเท่า ๆ กัน
.....ถ้าเป็นไม้พุ่มหนาทึบและต้ นไม้ที่ขึ้นเป็นรั้ว
หนาแน่น แต่ละต้นต้องต่อสู้แก่งแย่งอาหา ร
ระหว่างกัน ต้นไม้อย่างนั้น ต้องมีใบที่มี
ลักษณะแยกเป็นแฉก ๆ หรือมีใบย่อยเล็ก ๆ
จำนวนมาก จึงจสามาถ "จับ" แสงแดดที่ส่อง
ผ่านทะลุใบอื่นที่แน่นหนารอบ ๆ
.....ไม่ใช่แต่เพียงว่าต้นไม้ส่ วนใหญ่ที่ขึ้น
ในที่ร่มหรือขึ้นอย่างแออัด มีใบยาวเล็ก
หรือใบแฉกย่อย และต้นไม้ที่ชูต้นสูง
มีใบกว้างใหญ่ แม้แต่กิ่งก้านเดียวกัน
ใบไม้ก็จัดเรียงตัวให้ซ้อนหรือบ ังแสงกัน
ให้น้อยที่สุดที่จะทำได้ ทั้งนี้เพื่อที่ต้นไม้นั้น
จะได้รับอาหารมากที่สุด
---------------------------
แหล่งอ้างอิงข้อมูล : รู้ไว้ใช่ว่าประสาวิทยาศาสตร์,ก ฤษณา ชุติมา
Rinlaporn&Omsin
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)